Property parentDocument กับการใช้ใน ItemRenderer/DataRenderer by

31
Jan
0

ก่อนหน้านี้ถ้าเราเขียนฟังก์ชั่นใน ItemRenderer/DataRenderer แล้วถ้าจะเรียกตัวก่อนหน้าก็จะใช้ parent หรือใช้ singleton เรียกตัวหลักข้างนอก เนื่องด้วยถ้าเราใช้ parent นั้นจะต้องซ้อนหลายชั้นมากกว่าจะถึงตัวนอก (ในที่นี้คือ List ที่เราใช้แสดง DataRenderer นี้) ตัวอย่างเช่น

parentdoc01

จะเห็นได้ว่าต้องเรียกหลายชั้นมาก เพราะ parent จะนับทุก Display ที่คลุมตัวนั้นๆอยู่ ซึ่งถ้าเราเขียนใน Flex เราสามารถใช้คำสั่ง parentDocument ได้ครับ

parentdoc02จะเห็นได้ว่าสั้นกว่ามาก เพราะ parentDocument จะนับแค่ตัว MXML ที่คลุมตัวนั้นๆอยู่ครับ ถ้าเราอยากอ้างอิงถึงค่าต่างๆ ก็สามารถใช้ property นี้จะสะดวกกว่าครับ

Enjoy this article?

Consider subscribing to our RSS feed!

ไม่มีความเห็น

ยังไม่มีความเห็น

ใส่ความเห็น

RSS feed for comments on this post

 เราชนะรอบ 4 | ยืมเงิน 3000 ด่วน | แอพกู้เงิน | แอพเงินด่วน | สินเชื่อออนไลน์อนุมัติทันที | Site Map | กู้เงินก้อน | กระเป๋าตัง | thisshop และ ยืมเงินฉุกเฉิน 5000 ด่วน